A-Level 61 Math1 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1

วัดการประยุกต์ใช้ความรู้ซึ่งมีเนื้อหาตามสาระการเรียนรู้แกนกลางและสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

โครงสร้างข้อสอบ

  • ข้อสอบ A-Level 61 Math1 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 ประกอบด้วย 4 ส่วนคือ

  • ส่วนที่ 1 : สาระจำนวนและพีชคณิต

    1) เซต

    2) ตรรกศาสตร์

    3) จำนวนจริงและพหุนาม

    4) ฟังก์ชัน

    5) ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม

    6) ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

    7) จํานวนเชิงซ้อน

    8) เมทริกซ์

    9) ลําดับและอนุกรม

    จำนวน: 15 - 17 ข้อ
  • ส่วนที่ 2 : สาระการวัดและเรขาคณิต

    1) เรขาคณิตวิเคราะห์

    2) เวกเตอร์ในสามมิติ

    จำนวน: 3 - 5 ข้อ
  • ส่วนที่ 3 : สาระสถิติและความน่าจะเป็น

    1) สถิติ

    2) การแจกแจงความน่าจะเป็นเบื้องต้น

    3) หลักการนับเบื้องต้น

    4) ความน่าจะเป็น

    จำนวน: 6 - 8 ข้อ
  • ส่วนที่ 4 : สาระแคลคูลัส

    1) แคลคูลัสเบื้องต้น

    จำนวน: 2 - 4 ข้อ
  • ประเภทข้อสอบ ปรนัย 5 ตัวเลือก / ระบายคำตอบที่เป็นตัวเลข

    ระยะเวลาที่ใช้สอบ 90 นาที

  • หมายเหตุ

    1) ข้อสอบบางข้อมีการบูรณาการระหว่างเนื้อหา
    2) ขอบเขตเนื้อหาของข้อสอบ สามารถศึกษาได้จาก เอกสารตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จาก เว็บไซต์สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

จำนวนข้อ

ปรนัย 5 ตัวเลือก / 75 คะแนน
25 ข้อ
ระบายคำตอบที่เป็นตัวเลข / 25 คะแนน
5 ข้อ
รวม30 ข้อ
คะแนนเต็ม
100 คะแนน

ตัวอย่างข้อสอบ

  • ตัวอย่างที่ 1 รูปแบบปรนัย 5 ตัวเลือก 1 คำตอบ

    บริษัทผลิตเครื่องดื่มแห่งหนึ่งวางแผนที่จะลดกำลังการผลิตสินค้าในแต่ละเดือน โดยจำนวนขวดของเครื่องดื่มที่จะผลิตในเดือนถัด ๆ ไป จะลดลงร้อยละ 3 ของจำนวนขวดของเครื่องดื่มที่ผลิตในเดือนก่อนหน้า ถ้าเดือนมกราคม 2565 บริษัทมียอดการผลิตเครื่องดื่มจำนวน 500,000 ขวด แล้วเดือนพฤศจิกายน 2565 บริษัทนี้จะมียอดการผลิตเครื่องดื่มกี่ขวด

    คำตอบ

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

  • ตัวอย่างที่ 2 รูปแบบปรนัย 5 ตัวเลือก 1 คำตอบ

    พิจารณาข้อความต่อไปนี้

    คำตอบ

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    พิจารณาข้อความในแต่ละข้อได้ดังนี้

     

    ดังนั้น ข้อที่ถูกต้อง คือ ตัวเลือก 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านั้น

  • ตัวอย่างที่ 3 รูปแบบปรนัย 5 ตัวเลือก 1 คำตอบ

    ให้ และ เป็นประพจน์

    ถ้ารูปแบบของประพจน์มีค่าความจริง แสดงดังตาราง

    แล้ว () สมมูลกับรูปแบบของประพจน์ในข้อใด

    คำตอบ

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    พิจารณาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ () ได้ดังนี้

    พิจารณาค่าความจริงของรูปแบบของประพจน์ในตัวเลือกแต่ละข้อได้ดังนี้

    จากตารางค่าความจริง จะได้ว่า () สมมูลกับ

     

  • ตัวอย่างที่ 4 รูปแบบระบายคำตอบที่เป็นตัวเลข

    เจ้าของฟิตเนสแห่งหนึ่งได้ทำการสำรวจกำไรต่อวัน พบว่า ฟังก์ชันแสดงกำไรต่อวัน

    เมื่อมีผู้ใช้บริการ pastedGraphic.png คนต่อวัน เป็นฟังก์ชันพหุนามกำลังสอง โดยที่

    • ในวันที่ไม่มีผู้ใช้บริการ จะขาดทุน 4,000 บาท
    • ในวันที่มีผู้ใช้บริการ 10 คน จะมีรายได้เท่ากับต้นทุน
    • ในวันที่มีผู้ใช้บริการ 30 คน จะได้กำไร 2,000 บาท

    ฟิตเนสแห่งนี้จะมีกำไรต่อวันสูงสุดเท่ากับกี่บาท

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

    2,250 บาท

  • ตัวอย่างที่ 5 รูปแบบระบายคำตอบที่เป็นตัวเลข

    ให้จำนวนเชิงซ้อน z มีส่วนจินตภาพเป็น 124

    ถ้า n เป็นจำนวนนับ ซึ่ง

    แล้ว n มีค่าเท่ากับเท่าใด

    คลิกเพื่อดูเฉลย →

    เฉลย/เหตุผลและแนวคิดในการตอบคำถาม

หมายเหตุ: "โครงสร้างข้อสอบและตัวอย่างข้อสอบ" เป็นแนวทางในการเตรียมตัวสอบของผู้เข้าสอบเท่านั้น มิได้หมายความว่า ข้อสอบในปีปัจจุบันจะต้องกำหนดระดับความถูกต้องของคำตอบเหมือนกันทุกประการ